วันพุธที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2558

โลกาภิวัตน์และผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทย

 สนับสนุนเนื้อหาโดย
บริษัท อัลตร้า-คอมเพรสเซอร์ จำกัด

กระแสโลกาภิวัตน์และปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทย

1. รัฐศาสตร์
   1.1 ผลกระทบของการก่อการร้ายข้ามชาติ
   1.2 ผลกระทบจากเสถียรภาพทางการเมือง




2. เศรษฐศาสตร์
   2.1 การย้ายศูนย์กลางการพัฒนาเทคโนโลยีมายัง บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน
   2.2 การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงาน และการลดลงของกำลังซื้อในกลุ่มประเทศอเมริกาและยุโรป
   2.3 ผลกระทบจากข้อตกลงระหว่างประเทศ (เช่น กรอบข้อตกลงทางการค้า) มีผลต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายเพิ่มขึ้น
   2.4 บทบาทมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีที่เพิ่มขึ้น
   2.5 การเพิ่มขึ้นของบทบาทของภูมิภาคเอเชียมาเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจโลก และการรวมกลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียน (AEC)
   2.6 การรวมฐานการผลิตเข้ามาสู่ตลาดเดียวภายในภูมิภาคอาเซียนเพิ่มขึ้น
   2.7 การกีดกันทางการค้าภายในภูมิภาคอาเซียนที่ลดลง
   2.8 ปริมาณการค้าระหว่างประเทศภายในกลุ่มภูมิภาคอาเซียนที่เพิ่มขึ้น
   2.9 การลดลงของความแตกต่างด้านขีดความสามารถในการผลิตของประเทศต่างๆ
   2.10 การเปลี่ยนของระบบเทคดนโลโยี เช่นการผลิตโดย 3D Printer







3. ประชากรศาสตร์
   3.1 ประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายในการดูแลกลุ่มดังกล่าวเพิ่มขึ้น ในขณะที่คนทำงานวัยหนุ่มสาวมีน้อยลง
   3.2 ประชากรวัยทำงานที่ลดลง ส่งผลให้แรงงานลดลงในประเทศที่พัฒนาแล้ว
   3.3 การเคลื่อนย้ายฐานบุคลากรระดับมันสมองไปยังกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว
   3.4 การเคลื่อนย้ายประชากรจากชนบทเข้าสู่สังคมเมือง
   3.5 การเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างภาคเกษตรกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรม
   3.6 จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มประเทศมุสลิม ทวีปแอฟริกา
          3.6.1 ฐานแรงงานต้นทุนต่ำที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มประเทศมุสลิม ทวีปแอฟริกา
          3.6.2 ความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้นของประชากรในกลุ่มประเทศมุสลิม
          3.6.3 การขยายฐานการผลิตด้านเกษตร/อุตสาหกรรมไปยังกลุ่มประเทศที่สาม
   3.7 การเพิ่มขึ้นของกำลังซึ้อจากจำนวนกลุ่มชนชั้นกลางที่เพิ่มขึ้นใน เอเชีย
ยุโรปกลาง ลาตินอเมริกา
   3.8 ความตระหนักถึงความสำคัญด้านความปลอดภัยของอาหาร และสุขภาพเพิ่มขึ้น





4. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
   4.1 ภาวะวิกฤตปริมาณมลภาวะ และอุณหภูมิของบรรยากาศที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
        4.1.1 ภาวะวิกฤตการขาดแคลนน้ำที่เพิ่มขึ้น
        4.1.2 ภาวะวิกฤตการขาดแคลนพลังงานที่เพิ่มขึ้น
        4.1.3 ภาวะการขาดแคลนอาหารที่เพิ่มขึ้น
        4.1.4 ภาวะวิกฤตความเสี่ยงในการเกิดโรคระบาดใหม่ๆ ที่เพิ่มขึ้น
   4.2 ความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมทำให้ลดการบริโภคสินค้าอุตสาหกรรมที่มีผลต่อ
สิ่งแวดล้อม
   4.3 ข้อเรียกร้องขององค์กรสิทธิต่างๆ (เช่น ปัญหาภาวะโลกร้อน) มีผลต่อการปรับเปลี่ยน





สนับสนุนเนื้อหาโดย

  Specialist in compressed air products
Ultra Compressor on Facebook
 
Contact Ultra Compressor 

20 ถ.เฉลิมพระเกียรติ ร.9 ซอย 48 แยก 13 แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 
 โทร 0-2726-2311, E-mail sales@ultra-compressor.com

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น